Home > ➢ แนะนา ��Rubber Valley�� ➢ บทสัมภาษณ์ ��นวัตกรรมยางหอม�� ร

➢ แนะนา ��Rubber Valley�� ➢ บทสัมภาษณ์ ��นวัตกรรมยางหอม�� ร

Page 1
ธันวาคม 2557
แนะนา ��Rubber Valley��บทสัมภาษณ์ ��นวัตกรรมยางหอม�� รศ.ดร. ศุภศร วนิชเวชารุ่งเรือง"
ภาควิชาเคมีคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยข่าวเทคโนโลยียาง
��Rubber Valley�� บทบรรณาธิการ สวัสดีค่ะผู้อ่านทุกท่าน ส าหรับจดหมายข่าวฉบับนี้ เป็นฉบับที่ 5 ส่งท้ายปลายปีแล้วค่ะ ก่อนที่เราจะเริ่มต้นก้าวเข้าสู่ ปีใหม่กัน เนื้อหาของจดหมายข่าวฉบับนี้เป็นการแนะน าหน่วยงาน ที่ไกลสักหน่อยค่ะ คือ Rubber Valley ที่เมืองชิงเต่า ประเทศจีน นอกจากนั้นเราจะพาไปรู้จักกับยางพาราหอม หนึ่งในนวัตกรรม จากนักวิจัยไทย ด้วยการสัมภาษณ์ รศ.ดร.ศุภศร วนิชเวชารุ่งเรือง จากภาควิชาเคมีคณะวิทยาศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กันค่ะ Rubber Valley เป็นหน่วยงานที่มุ่งเน้น การพัฒนาอุตสาหกรรมเคมีและยางอย่างครบ วงจรและยั่งยืน ตั้งอยู่บนพื้นที่กว่า 1,200 ไร่ ต าบล Shibei เมืองชิงเต่า มณฑลซานตง โดย ความร่วมมือระหว่าง China Rubber Industry Association, Qingdao Shibei District Government, Qingdao University of Science & Technology และ MESNAC Co., Ltd. ภายในจะมีหน่วยงานภาครัฐ องค์กรวิจัย มหาวิทยาลัย (Qingdao University of Science & Technology) ภาคการผลิต คือการมีบริษัทที่เกี่ยวข้องกับยางพารา จากต่างชาติเข้ามาตั้งส านักงานในโครงการ ทั้งจากสหรัฐอเมริกาและเยอรมนี โดยในส่วนของไทยก็มีบริษัทไทยฮั้ว และ บริษัทศรีตรัง เข้ามาตั้งสานักงานด้วยเช่นกัน สมาคมธุรกิจที่เกี่ยวข้องต่างๆ และสถาบันทางการเงิน ใน Rubber Valley แห่งนี้ ทาหน้าที่สาคัญๆ 5 ด้าน คือ ▪ เป็นศูนย์การค้าผลิตภัณฑ์ยางพาราโลก (Global Chemical and Rubber Products Trading Center) ▪ เป็นศูนย์วิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระดับสากล (Global Scientific Research and Technology Center)

Page 2
จดหมายข่าวเครือข่ายพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางและไม้ยางพารา
ธันวาคม 2557
▪ เป็นศูนย์การแสดงนิทรรศการและ วัฒนธรรม (Global Exhibition and Cultural Exposition Center) ▪ เป็นศูนย์ฝึกฝนและแลกเปลี่ยนทักษะ (Global Talent Exchange and Training) ▪ เป็ น ศู น ย์ ข้ อ มู ล ย า ง (Global Information Center) นอกจากนี้ ในแง่ของการวิจัยเพื่อ ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ Rubber Valley แห่งนี้ยังเป็นตัวแทนในการซื้อขายผลิตภัณฑ์ยาง ธรรมชาติ ยางสังเคราะห์ และยางรถยนต์ รวมถึง ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ รวมทั้ง ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกัน ที่ ส าคัญก็คือ Rubber Valley ยังท าหน้าที่เป็น ตัวแทนในการให้บริการด้านการเงิน การลงทุน ให้ค าปรึกษาด้านกฎหมาย การบัญชี และการ โฆษณา ตลอดจนถึงการติดต่อประสานงานกับ ภาครัฐด้วย
โครงสร้างองค์กร งานบริการ
1. การบริการเกี่ยวกับสิทธิบัตร (Patent service)
เป็นงานที่อยู่ภายใต้การดูแลของ Qingdao Rubber Valley Intellectual Property Co., Ltd. ซึ่งเป็นความ ร่วม มื อกัน ระห ว่าง Publishing House of the intellectual property แห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน แ ล ะ Rubber Valley Co., Ltd. โด ย ให้ บ ริก าร ครอบคลุมเกี่ยวกับค าแนะน า ข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับ ทรัพย์สินทางปัญญา เช่น ข้อมูลและสิทธิบัตรทางการค้า การลงทุนและการเงิน การฝึกอบรม การประเมินและ วิเคราะห์สิทธิบัตร และบริการห้องสมุด
2. การบริการด้านการเงินการลงทุน (Financial Capital Services) ในอุตสาหกรรมเคมียาง ให้การ
สนับสนุนเงินทุนส าหรับโครงการบ่มเพาะ โครงการที่ ก าลังด าเนินการ และการลงทุนขององค์กรผ่านสถาบัน การเงินโดยตรงทั้งการจัดหาเงินทุนทางอ้อมในระบบ ธนาคารและการลงทุนในหุ้นของบริษัทเอกชนที่ไม่ได้จด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (private equity investment) การให้ค าปรึกษาและการก าหนดนโยบาย การลงทุนทางการเงินส าหรับอุตสาหกรรมเคมียางและ ส่งเสริมการลงทุนเพื่อยกระดับอุตสาหกรรม
3. การบริการด้านบัญชีและกฎหมาย (Accounting Law Service) การบริการด้านบัญชี โดยบริการให้
ค าปรึกษาบัญชีพื้นฐานและบัญชีธุรกิจ ความรู้เรื่องภาษี การจัดท าคู่มือการเงินให้กับองค์กรและการฝึกอบรม ธุรกิจแบบครบวงจร ส่วนการบริการด้านกฎหมาย เป็นการให้ค าแนะน า การวิเคราะห์ การประสานงาน การฝึกอบรม และการจัดการกับเรื่องทางกฎหมายอื่นๆ
4. การบริการด้านการค้าผลิตภัณฑ์ยาง (Rubber Products Trading Service)
การบริการนี้จะมุ่งเน้นที่จะสร้างระบบอีคอมเมิร์ซ ที่ประกอบด้วยข้อมูลทางการค้า ระบบโลจิสติกส์และ การเคลื่อนไหวของเงินทุนด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัยแบบ ครบวงจรตั้งแต่ผู้จัดจ าหน่ายของผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ยางไปจนถึงลูกค้า และยังเป็นการสร้างความน่าเชื่อถือ ให้กับหน่วยงานกลางในการค้าด้วย

Page 3
จดหมายข่าวเครือข่ายพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางและไม้ยางพารา
ธันวาคม 2557
5. งานบริการวิจัย (Research Service)
การบริการนี้อุตสาหกรรมจะได้ประโยชน์จากการร่วมมือ กับมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยทางวิทยาศาสตร์ การท า การค้าเสรี และการวิจัยตลาดด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ "customization" R&D เพื่อสร้าง นวัตกรรมใหม่ๆ และยกระดับอุตสาหกรรม ได้แก่ ▪ สิทธิบัตร: ฐานข้อมูลสิทธิบัตรของอุตสาหกรรม เคมียางทั่วโลก ▪ การวิจัยด้านทฤษฎีและการประยุกต์ใช้: ห้องปฏิบัติการและศูนย์เทคโนโลยีวิศวกรรม ระดับจังหวัดจานวน 33 แห่ง ▪ การวิจัยด้านการผลิตและเทคโนโลยีพื้นฐาน: มี ศูนย์เทคโนโลยีวิศวกรรมและห้องปฏิบัติการ แห่งชาติ6 แห่ง ▪ การวิจัยเชิงประยุกต์: การจัดตั้ง ��China gutta-percha academy of sciences�� ▪ การบริการด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์: มุ่งเน้นการวิจัยเรื่องเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์
6. การจัดการทางธุรกิจ (Management Service)
▪ การสร้างแบรนด์ มุ่งเน้นการออกแบบ การวางแผน การจัดการ การสร้างมูลค่า การสร้างความแตกต่าง รูปลักษณ์และการทาตลาดส่งเสริมแบรนด์ ▪ การให้บริการคาปรึกษา เพื่อสร้างและเผยแพร่ระบบวัฒนธรรมองค์กร
7. การบริการทั่วไป
ที่มา: 1.http://www.rubbervalley.com/english/ArticleMenu.aspx?class1=2 2. http://www.thairath.co.th/content/250811
Rubber Valley Group
No.43 ZhengZhou Road, Qingdao, China 266045 Hotline: 400-636-5556 Fax: (+86)532-68662000 E-Mail: rv@rubbervalley.com Web:

Page 4
จดหมายข่าวเครือข่ายพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางและไม้ยางพารา
ธันวาคม 2557
บทสัมภาษณ์: รศ.ดร.ศุภศร วนิชเวชารุ่งเรือง น วั ต ก ร ร ม ยางพาราหอม เป็น ผลงานวิจัยซึ่งประสบ ความส าเร็จในการ พั ฒ น า ส า ร จ า ก ธรรมชาติ เพื่อใช้ใน การห่อหุ้มน้าหอม และค วบ คุ ม การ ปลดปล่อยให้น้าหอม ส าม ารถ ห อ ม ได้ ยาวนาน ซึ่งเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ช่วยสร้างมูลค่าเพิ่ม ให้กับผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นรูปด้วยน้ายาง อาทิ ถุงมือยาง ถุงยางอนามัย หมอน และที่ นอนยางพารา ฯลฯ ในการสร้างความ แตกต่างของสินค้าในตลาด ผลงานวิจัยนี้ เป็นอีกหนึ่งความส าเร็จของนักวิจัยไทยที่ ได้รับการสนับสนุนจากส านักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) การันตีด้วยการ คว้ารางวัลการประกวดเทคโนโลยีระดับ โ ล ก The 1 0 th Taipei Invention Show & Technomart Inst 2014 ณ กรุงไทเป ประเทศไต้หวัน ดังนั้นจดหมาย ข่าวฉบับนี้ ขอน าเสนอบทสัมภาษณ์ของ รศ.ดร.ศุภศร วนิชเวชารุ่งเรือง ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้สร้างงานวิจัยยางพาราหอม
ค าถาม: ความเป็นมาของแนวคิดการท าวิจัย ยางพาราหอม
รศ.ดร.ศุภศร: การท าวิจัยยางพาราหอมนี้ได้รับทุน สนับสนุนจากส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ฝ่ายอุตสาหกรรม ในหัวข้อเรื่องอนุภาคนาโนส าหรับ น าส่งสารออกฤทธิ์ ก่อนหน้านี้ผู้วิจัยเคยได้รับทุนการ สร้างดินประดิษฐ์ที่มีส่วนผสมของน้ายางพาราจาก สกว. มาแล้ว ท าให้ได้มีโอกาสได้ท างานร่วมกับทางฝ่าย ยางพาราของ สกว. และยางพาราหอมนี้ก็เป็นโจทย์มา จากผู้บริหารฝ่ายอุตสาหกรรมของ สกว. ในช่วง 2 ปีก่อน โดยเป็นความพยายามแก้ปัญหากลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ของ ยางธรรมชาติ ในการท างานทางผู้วิจัยเชี่ยวชาญในเรื่องการสร้าง อนุภาคเก็บกลิ่น การตรวจสอบ และการปรับอนุภาค (วิจัยที่ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย) แต่ส าหรับการน าไปประยุกต์ใช้กับยางนั้น ทางผู้วิจัยได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจากสถาบันวิจัย ยาง กรมวิชาการเกษตร เมื่อการทดลองในระดับห้องปฏิบัติการได้ผลดี ขั้น ต่อมาทางผู้ให้ทุนคือ ส านักงาน คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ ส านักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจัย (สกว.) ก็สนับสนุนให้ผู้วิจัยได้มีการ ขยายสเกลการทดลอง ร่วมกับ บริษัทเอกชน 4 แห่ง
ค าถาม: จุดเด่นของงานวิจัยยางพารา หอมคืออะไร และเหมาะส าหรับการใช้ กับผลิตภัณฑ์ลักษณะใด
รศ.ดร.ศุภศร: งานวิจัยนี้เป็นการ น าเอาอนุภาคขนาดระดับไมโครเมตรที่มีการปรับผิวของ อนุภาคไม่ให้ท าปฏิกิริยาจับตัวกับน้ายางมาเป็นตัวเก็บ สารให้กลิ่นอยู่ภายใน น าอนุภาคดังกล่าวผสมลงในน้า ยางพารา แล้วนาไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ตามขั้นตอนปกติที่ ใช้กันในอุตสาหกรรม ทั้งนี้ การเก็บกลิ่นไว้ในอนุภาคนั้น จะมีการควบคุมให้มีการปล่อยกลิ่นแบบช้าๆ โดยสามารถ จะเติมกลิ่นลงไปได้ในปริมาณมากในตอนแรกโดยที่กลิ่น จะไม่รุนแรงเกินไป แต่กลิ่นจะอยู่ได้คงทนยาวนาน ยางพาราหอมนี้สามารถน าไปผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ที่นอน หมอนยางพารา ถุงมือแม่บ้าน แผ่นยาง พื้นรองเท้า และผลิตภัณฑ์จากยางพาราอีกหลายชนิด

Page 5
จดหมายข่าวเครือข่ายพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางและไม้ยางพารา
ธันวาคม 2557
คาถาม: การใช้ยางพาราหอมในผลิตภัณฑ์ยาง จะส่งผลกระทบต่อคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์นั้นหรือไม่ อย่างไร
รศ.ดร.ศุภศร: ผลกระทบทางสมบัติทางกายภาพ ของผลิตภัณฑ์ยางค่อนข้างน้อย เพราะเป็นสิ่งหนึ่งที่ ผู้วิจัยต้องพิจารณาดูว่า การผสมอนุภาคลงไปในน้ายาง นั้นต้องไม่ไปท าให้สมบัติต่างๆ ของยางเปลี่ยนแปลงไป ยกเว้นว่ามันจะให้กลิ่นหอมออกมาได้
คาถาม: ปัญหาและอุปสรรคที่พบระหว่างการ ทางานยางพาราหอม
รศ.ดร.ศุภศร: ปัญหาและอุปสรรคที่พบระหว่างการ ท างาน คือ การเก็บกลิ่นและการขยายสเกลการผลิต เนื่องจากกลิ่นมีมากมายหลายกลิ่น แต่ละกลิ่นก็มีอัตราการแพร่ ที่แตกต่างกัน ท าให้ความคงอยู่ของกลิ่นต่างชนิดกันนั้นไม่เท่ากัน แต่โดยทั่วไปแล้ว อนุภาคจะสามารถหน่วงกลิ่นได้มาก พอสมควร และที่ส าคัญเมื่ออนุภาคกลิ่นฝังอยู่ในเนื้อยาง มันจะปล่อยกลิ่นออกมาช้าๆ การน าเทคโนโลยีไปใช้ ไม่ใช่เป็นแค่ เรื่องการน าอนุภาคกลิ่นไปผสม แต่เป็นการขยายสเกลการผลิตอนุภาคเก็บกลิ่น ซึ่งทางผู้ให้ทุนก็ช่วยในการด าเนินการให้ สามารถสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
คาถาม: ยางพาราหอมมีการตอบรับในเชิงพาณิชย์อย่างไร
รศ.ดร.ศุภศร: ตอนนี้มีบริษัทที่ร่วมกับ สกว. ฝ่ายอุตสาหกรรมน าเทคโนโลยีไปใช้อยู่ในระดับการผลิต มีการวางแผนผลิตสินค้าเพื่อการส่งออกที่ค่อนข้างชัดเจน
คาถาม: ข้อเสนอแนะสาหรับผู้ประกอบการหรือบุคคลที่สนใจยางพาราหอม
รศ.ดร.ศุภศร: ผู้ประกอบการหรือบุคคลที่สนใจยางพาราหอมสามารถติดต่อได้ที่ฝ่ายอุตสาหกรรม ของ สกว. โดยตรง สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ชั้น 14 อาคาร เอส เอ็ม ทาวเวอร์979/17-21 ถนนพหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์: 02 278 8200 โทรสาร: 02 298 0476

Page 6
จดหมายข่าวเครือข่ายพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางและไม้ยางพารา
ธันวาคม 2557
ข่าวเทคโนโลยียางทาเนียบขาวกาหนดแผนงานความปลอดภัยและความมีประสิทธิภาพของยางล้อ วอชิงตัน – ทาเนียบขาวได้กาหนดแผนงานต่างๆ ที่จะให้ผู้บริโภคในสหรัฐอเมริกา ได้รับคาแนะนามากขึ้นในการเลือกใช้ยางล้อที่มีความต้านทานการหมุนต่าและมีความ ปลอดภัยสูงขึ้น ดังนี้ - กาหนดแผนงานการให้ข้อมูลยางล้อประหยัดน้ามันแก่ผู้บริโภคให้เสร็จสิ้นภายในปี 2017 - ร่วมมือกับผู้ผลิตยางล้อ ผู้จัดจาหน่ายน้ามันเชื้อเพลิง และผู้จัดจ าหน่ายยางล้อรายย่อย ในการสนับสนุนแคมเปญ ��เดือนแห่งการตระหนักถึงความปลอดภัยของยางล้อ (Tire Safety Awareness Month)�� โดยเริ่มต้นตั้งแต่วันนี้จนถึง วันที่ 9 มกราคม 2015 - เข้าร่วมกับ National Association for Stock Car Auto Racing (NASCAR) ในโครงการ ��Drive for Safety�� ตลอดฤดูการแข่งขันปี 2015 - ออกคู่มือ ��Be TireWise�� ที่จะช่วยให้ผู้บริโภคประหยัดเงิน เพิ่มประสิทธิภาพ และป้องกันความปลอดภัย ผู้ผลิตยางล้อในประเทศ ได้แก่ Bridgestone Americas Inc., Continental Tire the Americas, Cooper Tire & Rubber Co., Goodyear, Michelin North America Inc., Pirelli Tire North America, Toyo Tire North America and Yokohama Tire Corp และผู้จัดจ าหน่ายรายย่อยตกลงร่วมกันที่จะสนับสนุนแคมเปญ Tire Safety Awareness Month ส านักงานบริหารทางหลวงและความปลอดภัยทางการจราจรของสหรัฐอเมริกา (National Highway Traffic Safety Administration; NHTSA) ได้เริ่มให้มีการใช้ฉลากยางล้อประหยัดพลังงานมาตั้งแต่เดือนมีนาคม 2010 แต่ปรากฏ ว่าล่าช้าไปมากกว่า 2 ปี ในขณะเดียวกัน ท าเนียบขาวก าลังผลักดัน NHTSA และส านักงานปกป้องสิ่งแวดล้อม (Environmental Protection Agency; EPA) ให้ ��พัฒนาและออกกฎระเบียบมาตรฐานเกี่ยวกับก๊าซเรือนกระจกและประสิทธิภาพ การสิ้นเปลืองน้ามันของรถขนาดกลางและขนาดใหญ่เฟสถัดไป ภายในเดือนมีนาคม 2016�� ภายใต้กรอบเวลานี้ องค์กรต่างๆ ถูกคาดหวังที่จะให้ออกประกาศ Notice of Proposed Rulemaking (NPRM) ภายในเดือนมีนาคม 2015 มาตรฐานการประหยัดน้ามันในรอบสองนี้ได้ถูกตั้งขึ้นเพื่อใช้กับรถขนาดกลางและขนาดใหญ่ที่ผลิตในปี 2014 ทั้ง 18 รุ่น โดยมาตรฐานเหล่านี้จะช่วยให้เจ้าของรถประหยัดเงินค่าน้ามันได้ 50,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และช่วยประหยัด น้ามันได้ 530 ล้านบาร์เรล แผนงานดังกล่าวนี้จะก าหนดขั้นตอนต่างๆ ที่จะช่วยให้มีความปลอดภัย ลดการสูญเสียพลังงาน และลดการพึ่งพา น้ามันจากต่างประเทศ ที่มา: http://www.rubbernews.com(11/12/2014)

Page 7
จดหมายข่าวเครือข่ายพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางและไม้ยางพารา
ธันวาคม 2557
เทคโนโลยียางล้อใหม่มุ่งเน้นพัฒนาเรื่องระยะทางการวิ่งและ ความดันลมยาง DETROIT - ภายใต้แรงกดดันที่จะช่วยบริษัทผู้ผลิตรถยนต์ให้ ประสบความส าเร็จตามเป้าหมายในเรื่องที่จะประหยัดน้ามันให้ได้มากขึ้น นั้น บริษัทผู้ผลิตยางล้อก็ประสบความส าเร็จไปด้วยจากการคิดค้น เทคโนโลยีใหม่ Bridgestone ได้เริ่มจัดส่งยางล้อส าหรับใช้กับรถยนต์ไฟฟ้ารุ่นใหม่ ของ BMW คือ i-series ด้วยการใช้เทคโนโลยี ��ologic�� ซึ่งผู้สังเกตการณ์บางรายเชื่อว่า ยางล้อเหล่านี้จะเป็นจุดเริ่มต้น ของการเปลี่ยนแปลงรูปลักษณ์ของรถยนต์ทั่วไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้า BMW ขยายการใช้งานยางล้อรุ่นนี้ในรถยนต์ทุกรุ่น ยางล้อ ��ologic�� เป็นยางล้อที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่ขึ้น หน้ายางแคบลง และมีแก้มยางสูง การที่ยางล้อมี หน้ายางแคบจะท าให้สัมผัสกับถนนได้น้อย จึงท าให้สามารถวิ่งได้ระยะทางไกลขึ้นต่อการหมุนหนึ่งรอบ ซึ่งแนวคิดนี้จะท า ให้รถยนต์ไฟฟ้าของ BMW รุ่น i3 และ i8 สามารถวิ่งได้ไกลขึ้นต่อการชาร์จแบตเตอรี่หนึ่งครั้ง ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา รูปลักษณ์ของยางล้อมีแนวโน้มตรงกันข้ามกับแนวคิดดังกล่าว นับตั้งแต่ในช่วงปลาย ทศวรรษที่ 19 ผู้บริโภคใช้ยางล้อที่มีหน้ายางกว้างมากขึ้น และแก้มยางเตี้ยลง เนื่องจากมีความมั่นใจว่ายางล้อดังกล่าวจะมี ความสามารถในการเข้าโค้งและเกาะถนนได้ดีขึ้น ในขณะเดียวกัน ทาง Goodyear ก็กาลังพัฒนาเทคโนโลยีที่จะช่วยประหยัดน้ามันจากอีกแนวคิดหนึ่งที่แตกต่างกัน Steve Rohweder ผู้อ านวยการด้านเทคโนโลยีของ Goodyear Tire & Rubber Co. ภูมิภาคอเมริกาเหนือระบุว่า Goodyear ก าลังพัฒนาระบบ ��การรักษาความดันลมยาง (air maintenance)�� ของยางล้อส าหรับการใช้งานในอนาคต ระบบนี้จะตรวจสอบความดันลมยางอย่างต่อเนื่องและจะรักษาระดับความดันลมยางให้ถูกต้องโดยใช้อุปกรณ์เติมลม อัตโนมัติภายในล้อยาง Gene Petersen ผู้จัดการโครงการยางล้อ Consumer Reports เชื่อว่าการแก้ไขปัญหาเรื่องความดันลมยางของ ยางล้อจะช่วยประหยัดน้ามันได้มากกว่าการใช้ยางล้อที่มีค่าความต้านทานการหมุนต่า ��แม้ว่าการขับขี่ด้วยความดันลมยางที่ไม่เหมาะสมจะเป็นคนละเรื่องกับความพยายามอย่างยิ่งของผู้ผลิตรถยนต์ที่ จะลดความต้านทานการหมุน แต่การที่ช่วยให้ผู้ขับขี่สามารถรักษาระดับความดันลมยางให้เหมาะสมได้นั้นง่ายกว่าการที่จะ พยายามให้ผู้ขับขี่เปลี่ยนไปใช้ยางล้อที่มีความต้านทานการหมุนต่า�� Petersen กล่าว ที่มา: http://www.rubbernews.com (5/12/2014)
ติดตามข่าวสารเครือข่ายพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยางและไม้ยางพารา ได้ที่http://rubber.oie.go.th/rrd

Set Home | Add to Favorites

All Rights Reserved Powered by Free Document Search and Download

Copyright © 2011
This site does not host pdf,doc,ppt,xls,rtf,txt files all document are the property of their respective owners. complaint#nuokui.com
TOP